ชื่อสถาบันอุดมศึกษา        มหาวิทยาลัยมหิดล

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา       
                      ภาควิชาจุลชีววิทยา  ภาควิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา และภาควิชาระบาดวิทยา
ชื่อหลักสูตร
          ภาษาไทย         :  หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาโรคติดเชื้อและวิทยาการระบาดทางการสาธารณสุข
          ภาษาอังกฤษ    :  Master of Science Program in Public Health Infectious Diseases and Epidemiology
                                     
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
      ภาษาไทย        ชื่อเต็ม   :  วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (โรคติดเชื้อและวิทยาการระบาดทางการสาธารณสุข)
                         ชื่อย่อ    :  วท.ม. (โรคติดเชื้อและวิทยาการระบาดทางการสาธารณสุข)
      ภาษาอังกฤษ     ชื่อเต็ม  :  Master of  Science  (Public Health Infectious  Diseases  and Epidemiology)
                         ชื่อย่อ   :  M.Sc. (Public Health Infectious Diseases and Epidemiology)

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต

รูปแบบของหลักสูตร
  รูปแบบ        :   หลักสูตรระดับปริญญาโท
  ภาษาที่ใช้     :   ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  การรับเข้าศึกษา  :  รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยได้ดี
  ความร่วมมือกับสถาบันอื่น  :  เป็นหลักสูตรของมหาวิทยาลัยมหิดลโดยเฉพาะ
  การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา  :  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

ระบบการจัดการศึกษา
  ระบบ    ใช้ระบบการจัดการศึกษาแบบหน่วยกิตระบบทวิภาค
  การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน    หลักสูตรภาคพิเศษ   มีภาคฤดูร้อน
  การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค   ไม่มี

การดำเนินการหลักสูตร
    วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน 
          หลักสูตรภาคปกติ    จัดการเรียนการสอนนอกวัน-เวลาราชการ

  คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
-  สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ชีววิทยา  เทคนิคการแพทย์ เทคนิคการสัตวแพทย์ จุลชีววิทยา เกษตรศาสตร์ หรือสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต พยาบาลศาสตรบัณฑิต เภสัชศาสตรบัณฑิต สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต แพทยศาสตรบัณฑิตหรือสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพ จากสถาบันอุดมศึกษาที่คณะกรรมการการอุดมศึกษารับรอง
- ได้ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๒.๕๐
-  มีผลการสอบภาษาอังกฤษผ่านตามเกณฑ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
- ผู้ที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากเกณฑ์ข้างต้น อาจได้รับการพิจารณาให้สมัครเข้ารับการคัดเลือกเข้าศึกษาได้ตามดุลยพินิจของประธานหลักสูตร และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

หลักสูตร
   จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร  ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต
    โครงสร้างหลักสูตร
                     จัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ  เรื่อง  เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา  พ.ศ. ๒๕๕๘  หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก ๒ ดังนี้
๑.  หมวดวิชาปรับพื้นฐาน                               ไม่นับหน่วยกิต
๒.  หมวดวิชาบังคับ                                      ๑๘      หน่วยกิต
๓.  หมวดวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า                      ๖      หน่วยกิต
๔.  วิทยานิพนธ์                                           ๑๒      หน่วยกิต
            รวมไม่น้อยกว่า                    ๓๖      หน่วยกิต


แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาปรับพื้นฐาน หน่วยกิต
สศรว๕๐๐ : โรคติดเชื้อและปัจจัยกำหนดทางการสาธารณสุข 3
หมวดวิชาบังคับ หน่วยกิต
สศชส๖๓๘ : ชีวสถิติพื้นฐาน 3
สศรบ๖๐๒ : หลักวิทยาการระบาด 3
สศรว๖๐๑ : นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อทางการสาธารณสุข 2
สศรว๖๐๒ : การจัดการควบคุมโรคติดเชื้อทางการสาธารณสุข 2
สศรว๖๐๓ : สัมมนาทางโรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด 2
สศรว๖๐๔ : เทคนิคทางห้องปฏิบัติการในการสอบสวนทางวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 2
สศรว๖๐๕ : การวิเคราะห์เชิงสถิติทางโรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด 2
สศรว๖๐๖ : วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางโรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด 2
หมวดวิชาเลือก หน่วยกิต
   รายวิชาเลือกภาควิชาจุลชีววิทยา
สศจว๖๑๒ : วิธีการทางห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยาสาธารณสุขและวิทยาภูมิคุ้มกัน 3
สศจว๖๑๔ : การควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ 2
สศจว๖๑๗ : วิธีการทางห้องปฏิบัติการวิทยาภูมิคุ้มกันทางสาธารณสุข 2
สศจว๖๑๘ : สุขภาพและการเดินทาง 2
สศจว๖๒๐ : การตรวจวินิจฉัยทางจุลชีววิทยาระดับโมเลกุล 2
สศจว๖๒๓ : การประยุกต์เทคโนโลยีวัคซีนทางสาธารณสุข 2
สศจว๖๒๕ : วิธีการระดับโมเลกุลต่อโรคติดเชื้อ 2
สศจว๖๒๗ : วิทยาภูมิคุ้มกันของโรคติดเชื้อ 2
สศจว๖๓๒ : การประเมินความเสี่ยงทางจุลชีววิทยา 2
สศจว๖๙๖ : หัวข้อพิเศษทางโรคติดเชื้อจุลชีพ 2
   รายวิชาเลือกภาควิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา
สศปว๖๐๐ : ชีววิทยาระดับโมเลกุลของโรคปรสิต 2
สศปว๖๐๓ : ปรสิตวิทยาสิ่งแวดล้อม 2
สศปว๖๐๙ : กีฎวิทยาทางการแพทย์ 2
สศปว๖๑๒ : โรคปรสิตทางด้านสาธารณสุข 3
สศปว๖๑๓ : การวินิจฉัยทางปรสิตวิทยา 2
สศปว๖๑๘ : ชีวสารสนเทศศาสตร์ทางโรคติดเชื้อ 3
สศปว๖๒๗ : ปรสิตวิทยาสาธารณสุขขั้นสูง 3
สศปว๖๘๔ : โครงการพิเศษทางปรสิตวิทยา 2
สศปว๖๘๘ : สัมมนาทางปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา 2
สศปว๖๙๒ : วัคซีนวิทยาสาธารณสุข 2
รายวิชาเลือกภาควิชาระบาดวิทยา
สศรบ๖๐๓ : การศึกษาทางวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ 3
สศรบ๖๐๔ : วิธีการทางสถิติในงานวิทยาการระบาด ๑ 3
สศรบ๖๑๖ : วิทยาการระบาดของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและการบาดเจ็บ 3
สศรบ๖๒๑ : สัมมนาทางวิทยาการระบาด ๑ 2
สศรบ๖๖๖ : การฝึกปฏิบัติภาคสนามทางการควบคุมโรคประจำถิ่น 2
สศรบ๖๖๘ : คอมพิวเตอร์และการจัดการระบบสารสนเทศทางการศึกษาวิทยาการระบาด 3
วิทยานิพนธ์ หน่วยกิต
สศรว๖๙๘ : วิทยานิพนธ์ 12
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
ดูรายละเอียด ที่ www.grad.mahidol.ac.th หัวข้อ อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา
แผนการศึกษา

ชั้น
ปีที่

ภาคการศึกษา

หลักสูตรภาคพิเศษ

หมวดวิชาปรับพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต

 สศรว ๕๐๐

โรคติดเชื้อและปัจจัยกำหนดทางการสาธารณสุข

๓(๓-๐-๖)

            รวม ๓ หน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ

สศรบ ๖๐๒

หลักวิทยาการระบาด

๓(๒-๒-๕)

สศชส ๖๓๘

ชีวสถิติพื้นฐาน

๓(๓-๐-๖)

 สศรว ๖๐๑

นิเวศวิทยาและวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อทางการสาธารณสุข

๒(๒-๐-๔)

 สศรว ๖๐๓

สัมมนาทางโรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด

๒(๒-๐-๔)

 

 

 

รวม ๑๐ หน่วยกิต

หมวดวิชาบังคับ

 สศรว ๖๐๔

เทคนิคทางห้องปฏิบัติการในการสอบสวนทางวิทยาการระบาดของโรคติดเชื้อ

๒(๑-๒-๓)

 สศรว ๖๐๒

การจัดการควบคุมโรคติดเชื้อทางการสาธารณสุข

 ๒(๑-๒-๓)

สศรว ๖๐๖

วิทยาระเบียบวิธีวิจัยทางโรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด

 ๒(๑-๒-๓)

สศรว ๖๐๕

การวิเคราะห์เชิงสถิติทางรคติดเชื้อและวิทยาการระบาด

 ๒(๑-๒-๓)

 วิชาเลือก     ไม่น้อยกว่า                      ๒  หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า ๑๐ หน่วยกิต

ภาคฤดูร้อน

วิชาเลือก     ไม่น้อยกว่า                      ๔   หน่วยกิต

 

                               รวมไม่น้อยกว่า ๔ หน่วยกิต

  สศรว ๖๙๘

วิทยานิพนธ์

  ๖(๐-๒๔-๐)

รวม ๖ หน่วยกิต

สศรว ๖๙๘

วิทยานิพนธ์

     ๖(๐-๒๔-๐)

รวม ๖ หน่วยกิต

 


 

ติดต่อเรา

ที่อยู่:420/1 ภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถ.ราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์:0 2354 8562
อีเมล์::headphep@mahidol.ac.th
เว็บไซต์:https://phep.ph.mahidol.ac.th
Follow us: https://www.facebook.com/uancha

footer logo